No data was found

เช็คลิสต์ 9 “วัคซีน” ในวัยรุ่น ฉีดให้ครบ กระตุ้นภูมิ ลดเกิดโรค

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

กดติดตาม TOP NEWS

เปิดเช็คลิสต์ 9 "วัคซีน" ในวัยรุ่น ควรฉีดให้ครบ ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ลดความรุนแรงและลดการเกิดโรค

เปิดเช็คลิสค์ 9 “วัคซีน” วัคซีน hbv ฉีด วัคซีน hpv hpv วัคซีน สำคัญในวัยรุ่น ที่พ่อแม่ต้องรู้ ฉีดให้ครบ ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ลดความรุนแรงและลดการเกิดโรค มีอะไรบ้าง ติตตามต่อได้ที่นี่ TOP News

 

ข่าวที่น่าสนใจ

รู้หรือไม่ ถึงแม้จะอยู่ในช่วงวัยที่แข็งแรง ก็สามารถเกิดโรคได้ แม้จะเคยได้รับภูมิจากการรับ “วัคซีน” ในตอนเด็กมาแล้ว แต่ก็ใช่ว่าจะป้องกันเราได้ตลอด เพราะ แต่ละปีมีการระบาดของโรคต่าง ๆ เข้ามาเรื่อย ๆ ต่อให้แข็งแรงแค่ไหนก็มีความเสี่ยง ซึ่งรวมถึงวัยรุ่นด้วย การป้องกันด้วยวัค ซีนแต่เนิ่น ๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญ ล่าสุด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปิดเช็คลิสต์ 9 วัค ซีน ที่สำคัญในวัยรุ่น ฉีดให้ครบ ช่วยกระตุ้นภูมิ ลดการเกิดโรคได้ จะมีอะไรบ้าง เช็คได้ที่นี่

วัค ซีนในวัยรุ่น

  • ส่วนใหญ่เป็นวัค ซีนต่อเนื่อง ใช้สำหรับการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ช่วยลดการเกิดโรคและลดความรุนแรงของโรคได้ โดยวัค ซีนแต่ละชนิดมีเกณฑ์การได้รับแตกต่างกันไป

 

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

 

1. วัค ซีนตับอักเสบบี (วัค ซีน hbv)

  • โดยปกติทารกควรฉีดวัค ซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีครั้งแรกเมื่อแรกเกิด และจะต้องฉีดวัค ซีนจนครบชุดเมื่ออายุครบ 6 เดือน
  • แต่สำหรับวัยรุ่นที่ไม่เคยได้รับวัค ซีนนี้มาก่อน ควรฉีดวัค ซีนโดยแนะนำให้ฉีด 3 เข็ม ระยะห่าง 0 , 1 และ 6 เดือนตามลำดับ
  • โดยวัคซีนเข็มที่ 2 ไม่ควรฉีดก่อน 1 เดือน หากเลยกำหนด 1 เดือนให้ฉีดเข็มที่ 2 ทันทีที่นึกได้ และนับต่อไปอีก 5 เดือนสำหรับเข็มที่ 3
  • กรณีได้รับวัค ซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบีไม่ครบตามกำหนด (ไม่ครบ 3 เข็ม) ควรฉีดวัค ซีนต่อโดยเร็วที่สุด

2. วัค ซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม

  • ปกติจะฉีดเข็มแรกเมื่ออายุ 9 เดือน และเข็มที่ 2 เมื่ออายุ 1 ปี 6 เดือน
  • สำหรับวัยรุ่นที่ไม่เคยได้รับวัค ซีนนี้ ควรได้รับวัค ซีน 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 4 สัปดาห์ แต่หากเคยได้รับมาแล้ว 1 เข็มควรฉีดเพิ่มอีก 1 เข็ม
  • หลีกเลี่ยงการใช้ยาในผู้ที่แพ้ยานีโอมัยซิน เจลาติน หรือเคยมีปฏิกิริยากับวัค ซีน MMR อย่างรุนแรง

 

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

3. วัค ซีนไข้สมองอักเสบเจอี

  • ยุงรำคาญเป็นพาหะนำโรค จะแพร่เชื้อไวรัสในตัวยุงไปยังคนหรือสัตว์ที่ถูกกัด
  • สำหรับวัยรุ่นที่ไม่เคยได้รับวัค ซีนนี้ ควรรับวัค ซีน 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 3-12 เดือน ขึ้นกับชนิดของวัคซีน อาจต้องฉีดกระตุ้นทุก ๆ 4-5 ปี เพื่อให้ภูมิคุ้มกันอยู่ในระดับสูงพอที่จะป้องกันโรคได้

4. วัค ซีนตับอักเสบเอ

  • ไวรัสตับอักเสบเอติดต่อทางการกิน ก่อให้เกิดโรคตับอักเสบและตับวายเฉียบพลันได้
  • ปัจจุบัน มีวัค ซีนตับอักเสบเอชนิดฉีด 1 เข็ม เป็นวัค ซีนชนิดเชื้อเป็น และวัค ซีนฉีด 2 เข็ม ห่างกัน 6-12 เดือน

 

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

 

5. วัค ซีนอีสุกอีใส

  • โรคอีสุกอีใสในวัยรุ่นมีความรุนแรงสูง ควรฉีดวัค ซีนนี้ในวัยรุ่นทุกคนที่ยังไม่เป็นโรคและไม่เคยฉีดวัค ซีน
  • ฉีด 2 เข็มห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน แนะนำในผู้ที่อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 13 ปีขึ้นไป ให้ฉีด 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 28 วัน

6. วัค ซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์

  • แนะนำให้กระตุ้นเมื่ออายุ 11-12 ปี และหลังจากนั้นกระตุ้นด้วยวัค ซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก ทุก 10 ปี
  • หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวัค ซีนบาดทะยัก คอตีบ ไอกรน ที่อายุครรภ์ 27-36 สัปดาห์ในทุกการตั้งครรภ์

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

 

7. วัค ซีนเอชพีวี (hpv วัคซีน)

  • ป้องกันการเกิดหูดหงอนไก่ที่อวัยวะเพศ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งปากช่องคลอดและทวารหนัก
  • วัค ซีนมีหลายชนิด คือ
    • ชนิด 2 สายพันธุ์
    • 4 สายพันธุ์
    • 9 สายพันธุ์
  • แนะนำฉีดในวัยรุ่น อายุ 9-26 ปี ฉีด 3 เข็ม และในวัยรุ่นแข็งแรงดี หากเข็มแรกฉีดก่อนอายุ 15 ปี ให้ฉีด 2 เข็ม
  • ประสิทธิภาพของวัค ซีนจะสูงในผู้ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์หรือไม่เคยติดเชื้อมาก่อน

8. วัค ซีนไข้หวัดใหญ่

  • วัค ซีนมี 2 ชนิด คือ
    • ชนิด 3
    • 4 สายพันธุ์
  • แนะนำฉีดวัค ซีนในวัยรุ่นทุกปี ปีละ 1 เข็ม เนื่องจาก สายพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงทุกปี
  • ห้ามให้ในผู้ที่แพ้ยา/แพ้วัค ซีน หรือส่วนประกอบของวัค ซีนนี้ โดยเฉพาะผู้ที่แพ้ไข่ โปรตีนจากไก่ ยาปฏิชีวนะที่ใช้ในกระบวนการผลิตวัค ซีน เช่น
    • ยานีโอมัยซิน (Neomycin)
    • ยาโพลีมัยซิน (Polymyxin)

วัคซีน, วัคซีน hbv, hpv วัคซีน, วัคซีนในวัยรุ่น, กระตุ้นภูมิคุ้มกัน, ลดความรุนแรงของโรค, วัยรุ่น, วัคซีนตับอักเสบบี, วัคซีนหัด หัดเยอรมัน คางทูม, วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี, วัคซีนตับอักเสบเอ, วัคซีนอีสุกอีใส, วัคซีนโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรนชนิดไร้เซลล์, วัคซีนเอชพีวี, วัคซีนไข้หวัดใหญ่, วัคซีนไข้เลือดออก, ฉีด วัคซีน hpv

9. วัค ซีนไข้เลือดออก

  • ฉีดได้ในผู้มีอายุ 9-45 ปี ฉีด 3 เข็ม แต่ละเข็มฉีดห่างกัน 6 เดือน
  • สามารถสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันไข้เลือดออกได้ 5-6 ปี นับจากวันที่ได้รับวัค ซีนเข็มแรก
  • แนะนำฉีดในผู้ที่เคยติดเชื้อไข้เลือดออกมาก่อนและผู้อาศัยในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  • สำหรับผู้ไม่เคยติดเชื้อไข้เลือดออก ควรตรวจเลือดก่อนการฉีดวัค ซีน

หลังได้รับวัค ซีนอาจพบอาการข้างเคียง 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. อาการทั่วไป เช่น

  • อาการไข้
  • อ่อนเพลีย
  • ผื่น เป็นต้น

2. อาการเฉพาะที่ เช่น

  • อาการปวด
  • บวมแดง
  • เจ็บ
  • คันบริเวณที่ฉีด

สามารถบรรเทาได้โดยประคบเย็นบริเวณที่บวม ซึ่งจะช่วยให้ทุเลาลง หรืออาจทานยาแก้ปวดลดไข้ร่วมด้วย การรับวัค ซีนแต่ละชนิดมีข้อบ่งใช้ ระยะเวลา รูปแบบการฉีด และข้อจำกัดของแต่ละบุคคลแตกต่างกันออกไป จึงควรได้รับการพิจารณาจากแพทย์ถึงความเหมาะสมและความปลอดภัยก่อนทุกครั้ง

ข้อมูล : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

ม็อบหนุนยิวชนม็อบหนุนปาเลสไตน์ที่ UCLA ตีกันเละ (คลิป)
สุดมึน "หนุ่มหลอน" บุกยึดบ้านนอน-กิน แถมขับรถไปซื้อกาแฟ สุดท้ายอ้างเฉยเป็นเจ้าของบ้าน
"ทีมแอนิเมชั่น 2475" แจ้งข่าวดี ก.วัฒนธรรม ผ่านเรทติ้งเหมาะผู้ชม "ทั่วไป" แล้ว
"สำนักพุทธฯ" บุกสอบ "เจ้าอาวาส" ฉาวเปิดฮาเร็มเคลมเด็กหนุ่ม ว่อนโซเชียล
กวางตุ้งระทึก ถนนยุบพังถล่ม รถ 20 คันไถลลงข้างทาง ดับ 24 ศพ
เปิดภาพ "ทักษิณ” ควง “สุวัจน์” ทัวร์สวนน้ำอันดามันภูเก็ต หวังบูมท่องเที่ยว
ถนนในกวางตุ้งยุบตัว พังถล่มเป็นทางยาว18 เมตร ดับ 24 ศพ
"อธิบดีกรมโรงงาน" เครียดปัญหากากแร่แคดเมียม แจ้งลาออกกลางวงกมธ.อุตฯ
แฉลึกนายทุนใหญ่ กว้านซื้อโควต้าสลากฯ "มูลนิธิผู้พิการ" ปล่อยขายผู้ค้าย่อยกินกำไรรวย 100 ล้าน
ชายคลั่งอาละวาด คว้าปังตอจามหัวตร. 3 ครั้ง บาดเจ็บ แต่ใจสู้เข้าสยบผู้ก่อเหตุได้

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น