logo

รวม 4 ปรากฏการณ์ “ดาราศาสตร์” เดือนกันยายน ที่ห้ามพลาด

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

รวม 4 ปรากฏการณ์ "ดาราศาสตร์" เดือนกันยายน ที่สายดูดาวห้ามพลาด มีวันไหนบ้าง เช็คเลย!

สายดูดาวห้ามพลาด! เปิด 4 ปรากฏการณ์ “ดาราศาสตร์” 2565 ประจำเดือนกันยายน มีวันไหนบ้าง ติดตามต่อได้ที่นี่ TOP News

ข่าวที่น่าสนใจ

เตรียมพบ 4 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติในทางดารา ศาสตร์ที่สำคัญหาดูได้ในประเทศไทย ไม่ต้องไปไกลถึงต่างประเทศ ในเดือนกันยายนนี้ มีอะไรบ้างไปดูเลย

 

 

 

8 กันยายน 2565 ปรากฏการณ์ดาวเสาร์เคียงจันทร์

  • เป็นปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์และดาวเคราะห์เปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อย ๆ ตามคาบการโคจรรอบดวงอาทิตย์
  • ดังนั้น การที่ดวงจันทร์และดาวเคราะห์ปรากฏบนท้องฟ้าในทิศเดียวกัน หรือเคลื่อนที่มาอยู่ในตำแหน่งใกล้เคียงกันจึงถือเป็นเรื่องปกติ

 

 

 

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

 

 

 

คืนวันที่ 11 กันยายน – เช้า 12 กันยายน 2565 ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์ 

  • หากสภาพอากาศเป็นใจ ฟ้าใสไร้ฝน สามารถดูด้วยตาเปล่าได้ทั่วประเทศ
  • ผู้สนใจรอชมปรากฏการณ์ดา ราศาสตร์ในคืนดังกล่าวได้  ดาวเคียงเดือนจะส่องสว่างสวยงามมากเนื่องจาก ดาวพฤหัสบดีโคจรมาใกล้โลก

 

 

 

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

23 กันยายน 2565 วันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox)

  • ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี
  • ทำให้ช่วงเวลากลางวันเท่ากับกลางคืน เรียกว่า วันวสันตวิษุวัต ถือเป็นวันเปลี่ยนฤดูกาล
  • ประเทศทางซีกโลกเหนือ ย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ ส่วนซีกโลกใต้เข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง

 

 

 

27 กันยายน 2565 ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี

  • เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทุก ๆ 13 เดือน
  • ดาวพฤหัสบดีจะโคจรเข้ามาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์​ ดวงอาทิตย์ โลก และดาวพฤหัสบดีจะเรียงตัวอยู่ในแนวเดียวกันโดยมีโลกอยู่ตรงกลาง
  • เป็นตำแหน่งใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ห่างจากโลกประมาณ 600 ล้านกิโลเมตร
  • เมื่อดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า จะเห็นดาวพฤหัสบดีปรากฏสว่างทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จากนั้นจะสังเกตได้ยาวนานจนถึงรุ่งเช้า
  • หากฟ้าใส สามารถเห็นชัดเจนด้วยตาเปล่า
  • นอกจากนี้ คืนดังกล่าวยังมีดาวเสาร์ปรากฏสว่างถัดจากดาวพฤหัสบดีไปทางทิศตะวันตกอีกด้วย

 

 

ดาราศาสตร์, ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์, ดาวเคียงเดือน, ดาวพฤหัสบดีเคียงดวงจันทร์, ดาวเสาร์เคียงจันทร์

 

 

 

ข้อมูล : Telescope & Astronomy Thailand (กล้องดูดาวและดาราศาสตร์ประเทศไทย)

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

ระวังพลาดสิทธิ “คารม” แนะ 5 ช่องทาง ยืนยันตัวตนแอปฯ “ทางรัฐ” สะดวก ปลอดภัย ประหยัดเวลา
รับมือหน้าฝน "กรมชลฯ" ยันอ่างเก็บน้ำทั่วประเทศ รับน้ำได้อีกมาก
"ตร.น้ำ-ประมงพื้นบ้าน" ล่า "ปลาหมอคางดำ" หลังพบอยู่ในสระน้ำกลางวัดสว่างอารมณ์
"กรมเจ้าท่าฯ" จัดล่องเรือฟรี รับส่งปชช.ร่วมกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ "ในหลวง"
"นิด้าโพล" เปิดผลสำรวจ ปชช. เผย "ทักษิณ - เนวิน - ธนาธร" ผู้มีบารมีนอกพรรคการเมือง
เช็กเลย "ขสมก." จัดรถเมล์ฟรี 5 เส้นทาง ชมเห่เรือพระราชพิธี-จุดเทียนถวายพระพร "ในหลวง"
"มอเตอร์เวย์ ฟรี" วันหยุดยาว วันเฉลิมพระชนมพรรษา เช็กจุดที่นี่
ทั่วไทยเจอฝนฟ้าคะนอง 17 จว.อ่วม ฝนถล่ม เสี่ยงน้ำท่วมฉับพลัน กทม.ก็โดนด้วย
เพจกล้าที่จะก้าว นำเหยื่อ “แชร์ลูกโซ่ธุรกิจออมทอง” เข้าร้องเรียน ดีเอสไอ ภาค 1 หลังโดนโกงสูญเงินนับร้อยล้าน
"บิ๊กอุ้ม" ลุยบุรีรัมย์กับ "กสศ." แก้ปัญหาเด็กหลุดนอกระบบการศึกษา มอบ "สกร." ตามเด็กถึงบ้าน ตั้งเป้าเทอม 2/2567 "บุรีรัมย์เด็กดร็อปเอาต์เป็นศูนย์"

ดู LIVE รายการ

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น