ฝุ่นยังคลุ้งหนัก เปิด 12 เขต ค่าฝุ่นพิษ PM 2.5 พุ่งสูงสุด ควรสวมหน้ากากอนามัย

ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร เผย ฝุ่นยังคลุ้งหนัก เปิด 12 เขต ค่าฝุ่นพิษ PM 2.5 พุ่งสูงสุด ควรสวมหน้ากากอนามัย

ฝุ่นยังคลุ้งหนัก เปิด 12 เขต ค่าฝุ่นพิษ PM 2.5 พุ่งสูงสุด ควรสวมหน้ากากอนามัย – Top News รายงาน

ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร ขอรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ในกรุงเทพมหานคร ประจำวันที่ 24 มีนาคม 2568 เวลา 07:00 น.  ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 66.3 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.)

เปิด 12 อันดับ ของค่าฝุ่นPM2.5 เขตสูงสุดในกรุงเทพมหานคร
1 เขตหนองแขม 80.5 มคก./ลบ.ม.
2 เขตทวีวัฒนา 79.9 มคก./ลบ.ม.
3 เขตบึงกุ่ม 76.9 มคก./ลบ.ม.
4 เขตสาทร 76.2 มคก./ลบ.ม.
5 เขตบางนา 75.8 มคก./ลบ.ม.
6 เขตตลิ่งชัน 75.3 มคก./ลบ.ม.
7 เขตบางขุนเทียน 74.6 มคก./ลบ.ม.
8 เขตคลองสามวา 73.5 มคก./ลบ.ม.
9 เขตภาษีเจริญ 73.4 มคก./ลบ.ม.
10 เขตบางเขน 73.4 มคก./ลบ.ม.
11 เขตจอมทอง 73 มคก./ลบ.ม.
12 เขตบางกอกใหญ่ 72.8 มคก./ลบ.ม.


PM 2.5

ข่าวที่น่าสนใจ


1️⃣กรุงเทพเหนือ
64.1 – 73.4 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

2️⃣กรุงเทพตะวันออก
56.6 – 76.9 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

3️⃣กรุงเทพกลาง
62.3 – 72 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

4️⃣กรุงเทพใต้
61.1 – 76.2 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

5️⃣กรุงธนเหนือ
39 – 79.9 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

6️⃣กรุงธนใต้
59 – 80.5 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

▶️ฝุ่นละอองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ภาพรวม : คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ 🟠


🩺 ข้อแนะนำสุขภาพ:
🔴คุณภาพอากาศระดับสีแดง: มีผลกระทบต่อสุขภาพ
ประชาชนทุกคน
▪️งดกิจกรรมกลางแจ้ง
▪️หากมีความจำเป็นต้องทำกิจกรรมกลางแจ้งให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองทุกครั้ง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5
▪️หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์
▪️ผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรอยู่ในพื้นที่ปลอดภัยจากมลพิษทางอากาศ ให้เตรียมยาและอุปกรณ์ที่จำเป็นให้พร้อมและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด

🟠 คุณภาพอากาศระดับสีส้ม: เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
▪️ประชาชนทั่วไป : ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
จำกัดระยะเวลาในการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก
ควรสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ไอ หายใจลำบาก ระคายเคืองตา
▪️ประชาชนกลุ่มเสี่ยง : ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
เลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

ข่าวล่าสุด

เปิดประสบการณ์สุดประทับใจ กลางชายหาด PATTAYA LIGHTING 2025 - FANTASEA THE ILLUMINATION ON THE BEACH 1-5 พ.ค.นี้
ตร.บุกช่วย "นศ.สาว" ถูกแก๊งคอลเซ็นเตอร์ ข่มขู่ให้ "ขังตัวเอง" ลวงรีดเงิน "พ่อ-แม่" 4.5 แสน
ขนลุก! มูลนิธิร่วมกตัญญู จัดโต๊ะจีนเชิญดวงวิญญาณตึกสตง.ถล่ม "หนุ่มกู้ภัย" ร้องลั่น "หิว ช่วยด้วย"
"เอกสิทธิ์" เผยมาตรฐาน-คุณภาพภาคอสังหาริมทรัพย์ ปัจจัยสำคัญสร้างเชื่อมั่นความปลอดภัย รองรับพิบัติภัยในอนาคต
"รมว.ท่องเที่ยว" ระดมภาครัฐ-เอกชน ถกปัญหาความปลอดภัย ฟื้นภาพลักษณ์เที่ยวไทย หลังเจอกระแสข่าวด้านลบ
นาทีชีวิต! ส่งเฮลิคอปเตอร์ EC-725 ช่วยผู้ป่วยวิกฤต ส่งถึงมือแพทย์ได้ทันเวลา
วธ. จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายพระกุศล "เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ" วันคล้ายวันประสูติ
"สก.นภาพล" ซัดกระทู้ถาม "กทม." เมื่อไหร่จะจ่ายคืนหนี้ BTS ย้ำดอกเบี้ยเพิ่มวันละ 4.5 ล้าน แฉฟาดรายได้ค่าโดยสาร 3 เดือน กว่า 2 พันล้าน แต่ให้เอกชนแบกภาระวิ่งรถไฟฟ้า
จีนสั่งยกเว้นภาษีสินค้านำเข้าบางประเภทจากสหรัฐ
"รองผอ." คดีฮั้วประมูล เผย "3 วิศวกร" รับลงชื่อตรวจงานสร้างตึกสตง.จริง เร่งสอบลายมืออีก 7 ราย ยังปฏิเสธ

ดู LIVE รายการ

X

เราใช้ คุ้กกี้ เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น